VMware

Enabling Healthcare Agility and Resilience for Thailand’s Healthcare Organizations

VMware แนะ 8 กลยุทธ์ เสริมความยืดหยุ่นและความคล่องตัวให้กับหน่วยงานสาธารณสุขในประเทศไทย

คุณเอกภาวิน สุขอนันต์_vmware

attribute to: Ekpawin Sukanan, Country Manager, VMware Thailand

As healthcare organizations worldwide battled COVID-19 on the front lines, they had sudden, dramatic proof of the value of digital technologies. Now as leaders in Thailand and across the globe strive to make their healthcare organizations resilient, new enterprise technology priorities are emerging.

To succeed in the uncertain times ahead, it is imperative for healthcare organizations in Thailand to become “future-ready” – in other words, adopt flexible, next-gen technologies that are capable of fully supporting patient care anywhere. Deploying a more trusted digital foundation will be key here, as Thai healthcare organizations will be able to accelerate innovations, build business resilience, and deliver digital healthcare experiences that will delight consumers.

Here is a quick look at the top 8 strategic insights on how the pandemic will drive unique transformation in Thailand’s healthcare sector.

Strategic Insight #1: COVID-19 Removes Decades-Long Barriers to Digital Transformation

COVID-19 has been a catalyst for speeding implementation plans for next-generation technologies. According to VMware’s Digital Frontiers 3.0 study, we found that Thai consumers are now placing their trust in technologies of the future including artificial intelligence (70%), 5G (81%) and facial recognition (74%)[1]

Healthcare IT organizations are also quickly realizing the merits of a robust digital foundation that supports any cloud, any app and any device to better respond to change – and ensure business continuity and resilience. Pivoting quickly to harness digital technologies has been key to serve sick patients in pop-up and overflowing hospitals while keeping healthy patients safe.

Strategic Insight #2: Consumerization and Patient Experience Is the New Business Differentiator

According to a recent Forrester survey of global healthcare CIOs and SVPs, more than half (51%) of healthcare organizations surveyed have indicated that they are increasing patient experience investments. With 64% of respondents in the Digital Frontiers 3.0 study saying that they will switch to another comparable brand if the ongoing digital experience does not live up to their expectations, it has become increasingly critical for Thai healthcare organizations to adopt next-generation technologies such as modern applications and cloud to drive innovations and deliver innovative healthcare services to their patients.

Strategic Insight #3: New Digital Services Are Creating Greater Cyber Risk

New digital services are introducing greater cyber risk. With 45% of Thai consumers highlighting security as one of the most important digital experience factor in VMware’s Digital Frontiers 3.0 survey, healthcare organizations need to make sure they are strengthening their security postures with zero-trust, least-privilege policies and controls across on-premises, cloud, and endpoint devices.

Strategic Insight #4: Telehealth and Distributed Work Capability Goes From Nice-to-Have to a Must-Have

Unlike other industries, healthcare is hands-on work. Amidst a new distributed environment,

collaborative tools and platforms such as the digital workspace unifying device management and identity are becoming essential to care providers, telehealth practices, and serving a host of new distributed workers as IT enables real-time patient-caregiver engagement and information sharing while allowing users to choose their preferred platforms.

VMware_telehealth

Strategic Insight #5: Investment In Transformative Digital Technologies Is Rising—In Healthcare More Than Other Industries

Almost all healthcare respondents (98%) say they hope to stay the course throughout the crisis by continuing to invest in the adaptable technologies required to achieve digital transformation, according to VMware-MIT Executive Study. As healthcare executives and board of directors recognize the value of healthcare IT investments that improve patient, care provider, and staff experience, the industry will gain capabilities to proactively plan and execute their technology responses, opening new opportunities for digital innovations.

Strategic Insight #6: Resilient HIT Is Key to Digital Success—Automation and Multi-Cloud Are Next

When asked about resilience, more than half (58%) of healthcare organizations surveyed in the same VMware-MIT survey cited infrastructure efficiency as key to success.

Automated healthcare IT infrastructure and operations have also been chosen as top initiatives as healthcare organizations look to protect care provider health and safety by boosting telehealth practices and supporting non-essential staff under work-from-home mandates.

Strategic Insight #7: Cloud Growth Unabated— Adoption Remains Balanced in Healthcare

The merit of cloud is no longer a question. By adopting a single, unified digital foundation, healthcare organizations can simplify cloud adoption by seamlessly extending to multi-cloud without having to reskill, refactor apps, or retool. This has improved patient engagement and boost caregiver and staff productivity. However, maintaining governance and compliance remains a top application challenge.

Strategic Insight #8: Disaster Recovery Does Not Equal Business Continuity

While healthcare organizations indicated they had business-continuity plans prior to the pandemic, three in ten healthcare leaders surveyed in VMware-MIT study felt their plans were less effective when attempting to cope with the pandemic. This has highlighted the need for future ready organizations to incorporate business continuity and disaster recovery plans into all of their operations to respond quickly to crises, adapt to new realities, and accelerate innovation.

The COVID-19 crisis is the latest—albeit most severe—test of healthcare organizations’ abilities to respond and succeed during adverse times. It has shed light on the importance of healthcare agility and resilience include adaptable technology architectures, patient and care provider empowerment, and a comprehensive cybersecurity approach. Looking forward, these will remain key factors as the healthcare sector moves faster to a digital future.

 

 

[1] VMware Digital Frontiers 3.0 Study, March 2021

 

คุณเอกภาวิน สุขอนันต์_vmware

บทความประชาสัมพันธ์โดย

คุณเอกภาวิน สุขอนันต์ ผู้จัดการประจำประเทศไทย บริษัท วีเอ็มแวร์ จำกัด

องค์กรด้านสาธารณสุขทั่วโลกต่างเป็นด่านหน้าที่กำลังต่อสู้กับโควิด-19 ที่กำลังระบาดอยู่ ในขณะเดียวกันพวกเขาก็ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงคุณค่าของเทคโนโลยีดิจิทัลที่เข้ามาช่วยจัดการสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็วและน่าทึ่ง ในฐานะด่านหน้าทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก พวกเขามุ่งมั่นที่จะทำให้ระบบสาธารณสุขมีความยืดหยุ่น และให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีในระดับองค์กรรูปแบบใหม่ ๆ ที่กำลังเกิดขึ้น

การประสบความสำเร็จในช่วงเวลาที่ไม่แน่นอนในอนาคต องค์กรด้านสาธารณสุขในประเทศไทยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง “พร้อมสำหรับอนาคต” หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีความยืดหยุ่นที่สามารถรองรับการดูแลผู้ป่วยได้อย่างเต็มที่จากทุกที่ โดยการวางรากฐานระบบดิจิทัลที่มีความน่าเชื่อถือจึงเป็นสิ่งสำคัญ ช่วยให้องค์กรด้านสาธารณสุขของไทยสามารถใช้นวัตกรรมใหม่ๆ, สร้างความยืดหยุ่น และมอบประสบการณ์การดูแลสุขภาพในรูปแบบดิจิทัลที่จะช่วยสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการ

นี่คือภาพรวมกลยุทธ์เชิงลึก 8 ประเด็น ที่แสดงให้เห็นว่า การระบาดของไวรัสครั้งนี้ผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาคสาธารณสุขของประเทศไทยได้อย่างไร

กลยุทธ์เชิงลึก #1: โควิด-19 ได้ทำลายอุปสรรคที่สั่งสมมานานหลายทศวรรษสู่การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล

โควิด-19 เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเร่งการพัฒนาแผนงานทางเทคโนโลยีรองรับอนาคต จากการศึกษาของ Digital Frontiers 3.0 จาก VMware พบว่าผู้บริโภคชาวไทยไว้วางใจในเทคโนโลยีแห่งอนาคต ไม่ว่าจะเป็นระบบปัญญาประดิษฐ์ (70%), 5G (81%) และระบบการจดจำใบหน้า (74%)[1]

องค์กรไอทีที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสาธารณสุข ตระหนักถึงข้อดีของรากฐานทางดิจิทัลที่แข็งแรงที่สามารถสนับสนุนการทำงานบน คลาวด์, แอปพลิเคชัน และอุปกรณ์ที่หลากหลาย ช่วยให้ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว ทำให้แน่ใจว่าจะมีความต่อเนื่องในการดำเนินธุรกิจและมีความหยืดหยุ่น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วด้านเทคโนโลยีดิจิทัลนี้ เป็นหัวใจสำคัญในการช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วยที่เพิ่มจำนวนมากขึ้นจนล้นโรงพยาบาลให้มีสุขภาพดีและปลอดภัย

กลยุทธ์เชิงลึก #2: การบริโภคและความต้องการของผู้ป่วยเป็นสิ่งสร้างความแตกต่างทางธุรกิจรูปแบบใหม่

จากการสำรวจล่าสุดของ Forrester ในกลุ่ม CIOs และ SVPs ทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก พบว่า องค์กรทางด้านสาธารสุขมากกว่าครึ่งหนึ่ง (51%) เพิ่มการลงทุนเกี่ยวกับความต้องการของผู้ป่วย โดย 64% ของผู้ตอบแบบสอบถามจากการศึกษาของ VMware’s Digital Frontiers 3.0 กล่าวว่า พวกเขาจะเปลี่ยนไปใช้บริการในสถานบริการใหม่ที่มีคุณภาพเทียบเท่ากัน หากการจัดการทางด้านดิจิทัลของสถานบริการที่ใช้บริการอยู่ไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ดังนั้นองค์กรทางด้านสาธารณสุขในประเทศไทย จึงจำเป็นต้องนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาใช้งาน เช่น ระบบแอปพลิเคชันที่ทันสมัย รวมถึงระบบคลาวด์ เพื่อขับเคลื่อนนวัตกรรมและนำเสนอแนวทางการบริการดูแลสุขภาพรูปแบบใหม่ให้แก่ผู้ป่วย

กลยุทธ์เชิงลึก #3: การให้บริการดิจิทัลรูปแบบใหม่สร้างความเสี่ยงทางไซเบอร์มากยิ่งขึ้น

บริการใหม่ ๆ ผ่านระบบดิจิทัลกำลังเพิ่มความเสี่ยงทางไซเบอร์ จากการสำรวจของ VMware’s Digital Frontiers 3.0 พบว่า ผู้บริโภคชาวไทย 45% ให้ความสำคัญต่อความปลอดภัยของการบริการผ่านดิจิทัลเป็นปัจจัยสำคัญที่สุด ดังนั้นองค์กรทางด้านสาธารณสุขจึงจำเป็นต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่า องค์กรมีมาตรการรักษาความปลอดภัยที่เข้มแข็งแบบ zero-trust, มีนโยบายและการควบคุมสิทธิ์อย่างน้อยต้องครอบคลุมทั้ง on-premises, บนคลาวด์ ไปจนถึงอุปกรณ์ปลายทาง

กลยุทธ์เชิงลึก #4: Telehealth และความสามารถในการกระจายการทำงาน เปลี่ยนจาก ”สิ่งที่ควรมี”กลายเป็น”สิ่งที่ต้องมี”

ด้วยความแตกต่างจากอุตสาหกรรมอื่นๆ งานทางด้านสาธารณสุขเป็นสิ่งที่ต้องลงมือปฎิบัติ ในสภาพแวดล้อมของการทำงานแบบกระจายตัว รวมถึงเครื่องมือและแพลตฟอร์มที่ใช้ในการทำงานร่วมกัน ตัวอย่างเช่น Digital workspace ที่รวมการจัดการอุปกรณ์ และการระบุตัวตน กลายเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ให้บริการด้านการดูแลผู้ป่วย รวมถึงแนวทางในการบริการ telehealth, และเป็นเจ้าภาพให้กับพนักงานผู้ต้องปฏิบัติหน้าที่ในรูปแบบใหม่ ซึ่งไอทีสามารถช่วยให้ผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถดูแลผู้ป่วย พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนข้อมูลได้แบบเรียลไทม์และเป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถเลือกใช้งานตามแพลตฟอร์มที่ต้องการได้

VMware_telehealth

กลยุทธ์เชิงลึก #5: การลงทุนในเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการปฏิรูปกำลังเพิ่มมากขึ้น – โดยเฉพาะอย่างยิ่งในธุรกิจด้านสาธารณสุขมีมากกว่าอุตสาหกรรมประเภทอื่น

จากการศึกษาของ VMware-MIT Executive Study พบว่า ผู้ให้ดูแลทางด้านสุขภาพที่ตอบแบบสอบถามเกือบทั้งหมด (98%) กล่าวว่าพวกเขาหวังว่าจะสามารถผ่านพ้นช่วงวิกฤตนี้ไปได้ ด้วยการลงทุนในการปรับปรุงเทคโนโลยีที่มีให้สามารถรองรับการปฏิรูปสู่ดิจิทัล ในขณะที่ผู้บริหารองค์กรทางด้านสาธารณสุขและคณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงคุณค่าในการลงทุนทางด้านไอทีสำหรับการสาธารณสุข ที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพของผู้ให้การดูแล, และประสบการณ์การทำงานของเจ้าหน้าที่ในองค์กร โดยธุรกิจในอุตสาหกรรมนี้จะได้รับประโยชน์จากการวางแผนเชิงรุกและการเปิดรับเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในองค์กร อันจะช่วยสร้างโอกาสใหม่ ๆ จากนวัตกรรมดิจิทัลอีกด้วย

กลยุทธ์เชิงลึก #6: เทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ (HIT) ที่ยืดหยุ่น คือ กุญแจสู่ความสำเร็จทางดิจิทัล – การทำงานแบบอัตโนมัติและมัลติ-คลาวด์ คือ อนาคต

เมื่อมีคำถามเกี่ยวกับความยืดหยุ่น มากกว่าครึ่ง (58%) ขององค์กรทางด้านสาธารณสุขที่ตอบการสำรวจจากแบบสำรวจเดียวกันของ VMware-MIT กล่าวว่าประสิทธิภาพของโครงสร้างพื้นฐานเป็นสิ่งสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จ

โครงสร้างพื้นฐานทางด้านไอทีของงานสาธารณสุขแบบอัตโนมัติรวมถึงรูปแบบของการดำเนินงาน ถูกยกให้เป็นความคิดริเริ่มอันดับต้นๆ เนื่องจากองค์กรทางด้านสาธารณสุขมองหาช่องทางการป้องกันสุขภาพ และเพื่อความปลอดภัยของผู้ให้บริการดูแลผู้ป่วย โดยการส่งเสริมการให้มีการบริการดูแลสุขภาพทางไกล รวมถึงสนับสนุนการทำงานแบบที่พนักงานไม่จำเป็นต้องสัมผัสผู้ป่วยผ่านการทำงานแบบ work-from-home

กลยุทธ์เชิงลึก #7: การเติบโตของคลาวด์ที่เพิ่มขึ้น – การประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสมดุลทางสาธารณสุข

ไม่มีข้อกังขาในคุณประโยชน์ในการใช้งานคลาวด์อีกต่อไป เพียงประยุกต์ใช้ unified digital foundation จะช่วยให้องค์กรทางด้านสาธารณสุขสามารถลดความซับซ้อนในการปรับใช้ระบบคลาวด์โดยขยายไปสู่มัลติ-คลาวด์ได้อย่างราบรื่นโดยไม่ต้องปรับทักษะ, ปรับโครงสร้างแอปพลิเคชัน หรือปรับแต่งเครื่องมือใหม่ สิ่งเหล่านี้ช่วยปรับปรุงการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพของผู้ดูแลและเจ้าหน้าที่ อย่างไรก็ตาม การรักษาธรรมาภิบาลและการปฏิบัติตามกฎระเบียบยังคงเป็นความท้าทายอันดับต้น ๆ ในการปฏิบัติงาน

กลยุทธ์เชิงลึก #8: การฟื้นตัวจากวิกฤติ เทียบไม่ได้กับการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

ในขณะที่องค์กรทางด้านสาธารณสุขระบุว่าพวกเขามีแผนสร้างความต่อเนื่องในการดำเนินธุรกิจก่อนเกิดการระบาดใหญ่ ผู้บริหารในกลุ่มสาธารณสุข 3 ใน 10 คนที่ร่วมทำแบบสำรวจของ VMware-MIT รู้สึกว่าแผนของพวกเขามีประสิทธิภาพน้อยลงเมื่อต้องพยายามรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาด สิ่งนี้ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นที่องค์กรต้องมีความพร้อมรับต่ออนาคตเพื่อบูรณาการความต่อเนื่องทางธุรกิจ พร้อมด้วยแผนการฟื้นฟูองค์กรจากวิกฤติเข้าไว้ในการดำเนินงานทั้งหมด เพื่อตอบสนองต่อวิกฤตที่อาจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และปรับให้เข้ากับสภาพความเป็นจริงใหม่ และเร่งสร้างนวัตกรรม

วิกฤตการณ์ COVID-19 เป็นบททดสอบล่าสุด – ที่รุนแรงที่สุด – เป็นการทดสอบความสามารถขององค์กรด้านสาธารณสุขในการตอบสนองและการประสบความสำเร็จในช่วงเวลาที่เลวร้าย พร้อมทั้งแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของความคล่องตัวและความยืดหยุ่นของระบบสาธารณสุข รวมถึงการใช้งานสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีที่เหมาะสม การให้อำนาจแก่ผู้ป่วยและผู้ปฏิบัติหน้าที่ดูแล การมีแนวทางการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่ครอบคลุม เมื่อมองไปในอนาคต, สิ่งเหล่านี้จะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยพัฒนาให้ระบบสาธารณสุขก้าวไปสู่โลกแห่งดิจิทัลได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

 

[1] VMware Digital Frontiers 3.0 Study, March 2021