Franklin Templeton

Elevated risks for the fall and winter months

แฟรงคลิน เทมเพิลตัน (Franklin Templeton) แนะนักลงทุนเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงเพิ่มขึ้นในช่วงปลายปีนี้ถึงต้นปีหน้า

News

Michael Hasenstab, Ph.D.

Chief Investment Officer, Templeton Global Macro

Thailand October 26, 2020 – After a surge of summer optimism, global financial markets have appeared to cool with the arrival of fall. Risk- asset rallies in the United States and Europe have recently shown signs of reaching their limits, as equity prices have pulled back from their peaks and credit spreads have widened. We expect those trends to continue in the months ahead as economic hardship persists, leading to greater cost-cutting by businesses and rising insolvencies. Central banks have been effective at maintaining liquidity across financial markets to date, but their interventions do not replace lost revenues or cure insolvencies, they only deepen the debt burdens. Consequently, many risk assets appear detached from underlying economic fundamentals, in our view, and remain vulnerable to a correction as the pandemic persists.

While there are reasons for optimism amid the COVID-19 pandemic, there is also cause for concern. It has been encouraging to see economies around the world strive to remain open under varying precautionary measures. However, we expect the pandemic to continue to have a constraining effect on global aggregate demand until the health crisis is remedied. The headwinds to economic growth remain substantial.

Economic recoveries in many regions have recently shown signs of leveling off, demonstrating that much of  the previous improvements in the late spring and summer months were rebounds from the extreme low points  in March and April, not growth trends that could be extrapolated through upcoming quarters. We remain concerned that as the pandemic persists through the fall and winter months, business insolvencies will worsen with each month of stifled activity. As the seasons shift to less daylight and colder, increasingly inclement weather, people will be increasingly compelled to spend more time indoors, increasing the risks for rising infections and further suppressing economic activity. A global recovery is likely to remain gradual, in our view, with the potential for multiple stages of relief rallies and corrections in financial markets before a more sustainable growth recovery eventually takes hold.

Adding to the complexity of the globally synchronized crisis is the precarious state of the world that existed before the pandemic. Geopolitical tensions, unorthodox policymaking and political polarizations have made it difficult for countries to find the collective goodwill needed to address both domestic and international challenges during the most profound economic shock in  the post-war era. Geopolitical risks remain elevated as the United States heads toward elections in November and the United Kingdom struggles to agree to terms before its end of year deadline for withdrawal from the European Union.

Additionally, deglobalization trends that were already underway before the pandemic erupted have only accelerated during the crisis. As countries increasingly focus internally on health concerns, national security and other domestic issues, global integration has been further cast aside. Potential structural shifts toward domestic production and regional supply chains would have major implications for the global economy and financial markets in the decade ahead

It also remains unclear how governments that were already burdened with high debt levels will pay for massive pandemic relief programs, as fiscal deficits have deepened significantly throughout the world. Large stimulus measures may be unavoidable in the near term, but responsible fiscal governance will be essential to debt sustainability going forward. Unorthodox policies such as modern monetary theory and debt monetization are likely to see greater political interest in upcoming years, increasing the risks for structural damage by imprudent governments. This makes it ever-more crucial to monitor policy across developed and emerging markets alike, to identify which sovereigns have their fiscal houses in order or the ability to bring them to order, versus those that do not. Environmental, Social and Governance (ESG) factors will be increasingly critical metrics for assessing the stability and economic prospects for countries in the years ahead. Social cohesion and good governance can accelerate a country’s post-crisis recovery, or the lack thereof can stymie it.

Tragically we have seen the consequences of weak ESG factors in specific emerging markets during the pandemic. Countries that were less prepared for a health crisis due to weaker health care systems and less developed infrastructure, and/or less prepared for an economic crisis  due to fiscal imbalances, high levels of debt and external dependencies,  have suffered greater damage to lives and livelihoods. By contrast, countries that were in stronger fundamental shape before the crisis, with stronger institutions, lower levels of debt and more diversified economies, have generally fared better. As an investor, it remains crucial to be selective—a number of sectors and sovereigns remain highly vulnerable to a market correction, in our view.

In the United States, debt levels are projected to exceed 100% of gross domestic product (GDP) over the next decade with a fiscal deficit heading toward more than 5% of GDP by 2030. Monetary policy is projected to remain loose for the foreseeable future, with the Federal Reserve anticipating near-zero-percent rates through 2023 while it continues to provide unlimited balance sheet support to financial markets. Short-term US Treasury yields are likely to remain anchored by monetary accommodation in the near term, but surging fiscal deficits, massive debt levels and inflation pressures will eventually drive term premiums higher, in our view.

Looking ahead, we continue to model two phases to the global crisis.  Financial markets currently remain in the first phase, which is characterized by a prolonged period of elevated risks and uncertainty, with the potential for additional market shocks that could last for multiple quarters. In the second phase, we expect a more sustainable recovery to eventually take hold, shortly preceded by periods of distorted asset prices and compelling investment opportunities.

Similar to the playbook we used heading into and eventually out of the global financial crisis in 2008/2009, we are taking a two-staged investment approach. In phase one, we are maintaining a largely defensive stance that focuses on higher allocations to safe-haven assets, lower duration exposures in select emerging markets, broad risk reductions and optimized liquidity. In phase two, we anticipate pursuing undervalued risk assets, with a particular focus on distressed valuations in higher duration local-currency sovereign bonds, emerging market currencies, and various credit sectors.

We remain confident that these types of phase-two investment opportunities will ultimately arise, but we also recognize that the pandemic may persist for multiple quarters, potentially pushing out the timeline for when certain investment opportunities may become suitable. Until that point, we continue to glean new information and new insights amid the evolving crisis, as we monitor the global economy on a country- by-country basis to uncover current and future investment opportunities.

“The Templeton Global Macro strategy provides diversification from broad asset classes, including domestic Thai equities and bonds which local investors tend to favour. It adopts a flexible approach to its investment process, seeking to find opportunities via all sectors of credit, currency and curve. Today, it is positioned to derive alpha from safe-haven investments such as the Japanese yen and Swiss franc, in order to protect capital in this volatile market environment coupled with high asset prices, and will look to take advantage of risk assets when valuations are favourable. The strategy strives to be uncorrelated to vulnerable asset classes while providing income and protecting capital during periods of turbulent market environment.” Michael Hasenstab, Ph.D. concluded

About Franklin Templeton

Franklin Resources, Inc. [NYSE:BEN] is a global investment management organization with subsidiaries operating as Franklin Templeton in over 165 countries. Franklin Templeton’s mission is to help clients achieve better outcomes through investment management expertise, wealth management and technology solutions. Through its specialist investment managers, the Company brings extensive capabilities in equity, fixed income, alternatives and custom multi-asset solutions. With employees in over 30 countries, including 1,300 investment professionals, the California-based Company has more than 70 years of investment experience and approximately $1.4 trillion in assets under management as of June 30, 2020 (on a pro forma basis for its acquisition of Legg Mason, Inc.). For more information, please visit franklinresources.com.

Copyright © 2020. Franklin Templeton Investments. All rights reserved.

ดร. ไมเคิล ฮาเซนสเตบ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการลงทุนเทมเพิลตัน โกลบอล แม็คโคร (Templeton Global Macro)

ประเทศไทย 27 ตุลาคม 2563 – หลังจากที่ตลาดการเงินทั่วโลกอยู่ในแนวบวกช่วงกลางปีแต่ดูเหมือนจะปรับตัวลดลงในปลายปีสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงในฝั่งสหรัฐอเมริกาและยุโรปแสดงให้เห็นสัญญาณการเติบโตที่ถึงขีดจำกัด เนื่องจากราคาหุ้นร่วงลงจากจุดสูงสุดและเครดิตสเปรด (Credit spreads) หรือส่วนต่างอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ภาคเอกชนที่เพิ่มขึ้นมาจากพันธบัตรรัฐบาลถ่างกว้างขึ้น เราคาดว่าแนวโน้มเหล่านี้จะดำเนินต่อไปในอีกหลายเดือนข้างหน้าเนื่องจากสถานการณ์ความยากลำบากของเศรษฐกิจนำไปสู่การลดค่าใช้จ่ายของธุรกิจและเกิดภาวะล้มละลายเพิ่มมากขึ้น ขณะที่ธนาคารกลางยังรักษาสภาพคล่องในตลาดการเงินจนถึงปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่การแทรกแซงของธนาคารกลางครั้งนี้นอกจากไม่ได้ชดเชยรายได้ที่สูญเสียไปหรือเยียวยาภาวะล้มละลายแล้ว ยังเป็นการเพิ่มภาระหนี้ยิ่งขึ้น ดังนั้นในมุมมองของเราสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงจำนวนมากจึงถูกแยกออกจากปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจและยังคงมีความเสี่ยงที่จะได้รับการจัดการจากการแพร่ระบาดที่ยังคงอยู่

แม้ว่าจะมีหลายปัจจัยบวกท่ามกลางการแพร่ระบาดของโควิด-19 แต่ในขณะเดียวกันก็มีเหตุให้กังวล ถึงสถานการณ์ที่กระตุ้นให้เห็นว่าเศรษฐกิจทั่วโลกมีความพยายามที่จะเปิดกว้างภายใต้มาตรการป้องกันที่หลากหลาย อย่างไรก็ตามเราคาดว่าการแพร่ระบาดจะยังคงมีผลกระทบต่ออุปสงค์มวลรวมทั่วโลกจนกว่าวิกฤตด้านสาธารณสุขนี้จะได้รับการแก้ไข ซึ่งแรงปะทะต่อปัจจัยทางเศรษฐกิจยังจะเป็นอุปสรรคสำคัญ

การฟื้นตัวของเศรษฐกิจช่วงที่ผ่านมาไม่นานในหลายภูมิภาคมีสัญญาณอยู่ในระดับคงที่ แสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ก่อนหน้าที่ดีขึ้นในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนซึ่งเป็นการดีดตัวขึ้นจากจุดต่ำสุดในเดือนมีนาคมและเมษายน แต่ไม่ใช่แนวโน้มการเติบโตที่ทำให้คาดการณ์สำหรับไตรมาสต่อ ๆ ไปได้ เรากังวลว่าสถานการณ์การล้มละลายของธุรกิจจะแย่ลงจากกิจกรรมที่หยุดชะงักในแต่ละเดือน เนื่องจากมีการระบาดอย่างต่อเนื่องในช่วงฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาว และเมื่อฤดูกาลเปลี่ยนทำให้ช่วงเวลากลางวันน้อยลงประกอบกับอากาศเย็นลง สภาพอากาศแปรปรวนเพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อที่สูงขึ้นจนไปถึงการระงับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ  ทำให้ผู้คนเหมือนถูกบังคับให้อยู่บ้านมากขึ้น โลกมีแนวโน้มค่อย ๆ ฟื้นตัวดีขึ้น ในมุมมองของเราจากศักยภาพการผ่อนคลายมาตราการอยู่ร่วมกันในแต่ละระยะ รวมถึงการจัดการตลาดการเงินก่อนจะช่วยฟื้นฟูและสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนให้เกิดขึ้นในท้ายที่สุด

โลกมีความไม่มั่นคงอยู่แล้วและการแพร่ระบาดของโควิดเข้ามาเพิ่มมิติความซับซ้อนของวิกฤต ความตึงเครียดด้านปัจจัยทางการเมือง การกำหนดนโยบายแตกต่างแหวกแนวและการแบ่งข้างทางการเมืองทำให้ประเทศต่าง ๆ พบกับความยากลำบากในการหาจุดยืนที่จำเป็นร่วมกันในการจัดการกับความท้าทายจากทั้งภายในและภายนอกในช่วงที่เศรษฐกิจสั่นคลอนอย่างรุนแรงที่สุดในยุคหลังสงครามโลก ความเสี่ยงด้านภูมิศาสตร์การเมือง (Geopolitical risks) ยังคงเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่สหรัฐฯ เดินหน้าจัดการเลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายนและสหราชอาณาจักรพยายามดิ้นรนเพื่อหาข้อสรุปเงื่อนไขต่าง ๆ จากการถอนตัวออกจากสหภาพยุโรปให้ทันก่อนเส้นตายช่วงสิ้นปี

นอกจากนี้แนวโน้มการทวนกระแสโลกาภิวัตน์หรือ (Deglobalization) ที่มีอยู่ก่อนการระบาดของโรคโควิด-19 จะถูกเร่งให้เกิดเร็วขึ้นจากวิกฤตครั้งนี้ ในขณะที่ประเทศต่าง ๆ ให้ความสำคัญเพิ่มขึ้นกับปัญหาด้านสุขภาพ ความมั่นคง และปัญหาภายในประเทศอื่น ๆ  การรวมตัวกันระดับโลกจึงถูกเลื่อนออกไป ทำให้การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างที่มีศักยภาพต่อภาคการผลิตในประเทศและห่วงโซ่อุปทานในภูมิภาคส่งผลกระทบอย่างมีนัยยะสำคัญต่อเศรษฐกิจโลกและตลาดการเงินในทศวรรษหน้า

อีกทั้งยังไม่มีความชัดเจนว่ารัฐบาลที่มีภาระหนี้สูงอยู่แล้วจะจ่ายเงินให้กับมาตรการเยียวยาจากการระบาดครั้งใหญ่ได้อย่างไรเนื่องจากทั่วโลกมีภาวะการขาดดุลทางการคลังเพิ่มสูงขึ้นและนำมาซึ่งมาตรการการกระตุ้นครั้งใหญ่ที่เลี่ยงไม่ได้ในอนาคตอันใกล้ แต่ความรับผิดชอบในด้านการกำกับดูแลการคลังจะมีความสำคัญต่อภาระหนี้สิ้นในอนาคต นโยบายแตกต่างแหวกแนวเช่นทฤษฎีการเงินสมัยใหม่ (Modern Monetary Theory) และการพิมพ์เงินเพื่อชำระหนี้ (Debt Monetization) มีแนวโน้มที่จะได้รับความสนใจในแง่การเมืองมากขึ้นในปีต่อ ๆ ไป ซึ่งในขณะเดียวกันจะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงที่จะสร้างความเสียหายเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากรัฐบาลที่ไม่มีวินัยทางการเงิน ส่งผลให้การตรวจสอบนโยบายในตลาดที่พัฒนาแล้วและตลาดเกิดใหม่มีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อระบุว่ารัฐบาลใดมีโครงสร้างการคลังที่เหมาะสมหรือมีความสามารถในการจัดการเทียบกับรัฐฯ ที่ไม่มี ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมและธรรมาภิบาล (ESG) จะเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญมากขึ้นในการประเมินความมั่นคงและแนวโน้มทางเศรษฐกิจของหลาย ๆ ประเทศในอีกหลายปีข้างหน้า การทำงานร่วมกันทางสังคมและการปกครองที่มีธรรมาภิบาลสามารถเร่งหรืออาจฉุดการฟื้นตัวหลังวิกฤตโควิดของประเทศได้

น่าเศร้าที่ในช่วงการระบาดเราได้เห็นผลที่ตามมาจากความไม่เข้มแข็งของปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Factors) โดยเฉพาะในตลาดเกิดใหม่ ประเทศที่ขาดความพร้อมรับมือโรคระบาดจากระบบการดูแลสุขภาพที่ไม่ดีพอและโครงสร้างพื้นฐานที่ด้อยพัฒนาหรือขาดการเตรียมพร้อมจากวิกฤตเศรษฐกิจเนื่องจากความไม่สมดุลทางการคลัง หนี้ในระดับสูงและการพึ่งพาภาคเศรษฐกิจภายนอก ประเทศเหล่านี้ได้รับความเสียหายอย่างมากต่อชีวิตและการดำรงชีวิต ในทางตรงกันข้ามประเทศที่มีพื้นฐานที่แข็งแกร่งมีสถาบันการเงินที่เข้มแข็งกว่า มีหนี้ในระดับที่ต่ำ และมีความหลากหลายทางเศรษฐกิจซึ่งโดยทั่วไปจะมีการฟื้นตัวที่ดี ในฐานะนักลงทุนการเลือกสรรนับว่าเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง ในมุมมองของเรามีหลายภาคส่วนและหลายประเทศที่ยังคงมีความเสี่ยงสูงกับการจัดการหรือรับมือต่อตลาด

ในสหรัฐอเมริกาคาดว่าระดับหนี้จะสูงเกิน 100% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) นานต่อเนื่องถึงทศวรรษหน้าโดยการขาดดุลทางการคลังมุ่งสู่ระดับที่มากกว่า 5% ของ GDP ในปี 2573 สำหรับอนาคตอันใกล้คาดว่านโยบายการเงินจะยังคงไม่มีเสถียรภาพ โดยธนาคารกลางสหรัฐคาดว่าจะคงอัตราดอกเบี้ยใกล้ 0% ไปจนถึงปี 2566 ในขณะที่ยังคงให้การสนับสนุนงบดุลที่ไม่จำกัดแก่ตลาดการเงิน ด้านอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ เราเห็นว่าในระยะสั้นมีแนวโน้มจะยังคงได้รับการสนับสนุนโดยนโยบายการเงินที่อำนวยความสะดวกทางการเงิน (Monetary Accommodation) แต่การขาดดุลทางการคลังที่เพิ่มระดับหนี้จำนวนมากและแรงกดดันจากเงินเฟ้อจะผลักดันให้ผลตอบแทนส่วนเพิ่มหรือส่วนต่างระหว่างอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวและพันธบัตรระยะสั้น (Term Premiums) ในระยะยาวสูงขึ้น

หากมองไปในอนาคตข้างหน้าเราจำลองสถานการณ์ระยะที่สองของวิกฤตโลก ขณะนี้ตลาดการเงินยังคงอยู่ในระยะแรกซึ่งมีความเสี่ยงและความไม่แน่นอนที่เพิ่มสูงขึ้นเป็นระยะเวลายาวนานและมีโอกาสที่จะเกิดการหยุดชะงักของดุลยภาพตลาดหรือ (Market shocks) เพิ่มเติมซึ่งอาจจะมีต่อเนื่องหลายไตรมาส ในระยะที่สองเราคาดว่าการฟื้นตัวอย่างยั่งยืนจะเกิดขึ้นหลังจากที่ราคาสินทรัพย์เกิดการเปลี่ยนแปลงและอิทธิพลของโอกาสในการลงทุนที่น่าสนใจ

คล้ายคลึงกับแนวทางในคู่มือ (Playbook) ที่เราใช้ไปสู่การพ้นจากวิกฤตการเงินโลกในปี 2551 และ 2552 ในขณะนี้เรากำลังใช้แนวทางการลงทุนระยะที่สอง ซึ่งในระยะที่หนึ่งเรายังคงรักษาท่าทีในการป้องกันที่มุ่งเน้นไปที่กลยุทธ์การกระจายการลงทุนที่สูงขึ้นในสินทรัพย์ที่มีความมั่นคงเเละปลอดภัย (Safe-Haven Assets) ลดความเสี่ยงการลงทุนในตลาดเกิดใหม่ การลดความเสี่ยงในวงกว้างและรักษาสภาพคล่องในระดับที่เหมาะสม ในระยะนี้เราคาดว่าจะดำเนินการติดตามหลักทรัพย์ที่มีค่าต่ำกว่าที่ควรจะเป็น (Undervalued) โดยให้ความสำคัญกับการประเมินมูลค่าที่ด้อยคุณภาพในพันธบัตรรัฐบาลสกุลเงินท้องถิ่นที่มีระยะเวลาสูงกว่าสกุลเงินในตลาดเกิดใหม่และสินเชื่อภาคต่าง ๆ

เรามั่นใจว่ายังมีโอกาสในการลงทุนช่วงการแพร่ระบาดรอบสอง แต่เราก็ตะหนักดีว่าอาจจะมีการแพร่ระบาดต่อเนื่องไปอีกหลายไตรมาส ซึ่งอาจจะเป็นการเลื่อนช่วงเวลาของโอกาสในการลงทุนที่เหมาะสม จนกว่าจะถึงจุดนั้นเราจะรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเชิงลึกใหม่ ๆ ท่ามกลางวิกฤตที่กำลังเกิดขึ้นในขณะที่เราติดตามเศรษฐกิจโลกในแต่ละประเทศเพื่อแนะแนวทางโอกาสการลงทุนในปัจจุบันและอนาคต

“กลยุทธ์ Templeton Global Macro จัดหาการกระจายความเสี่ยงประเภทสินทรัพย์ที่กว้างขวางรวมถึงหุ้นในประเทศไทยและพันธบัตรของไทยที่นักลงทุนในประเทศสนใจ ใช้แนวทางที่ยืดหยุ่นในกระบวนการลงทุนเพื่อแสวงหาโอกาสผ่านสินเชื่อทุกภาคส่วน สกุลเงินและเส้นโค้งผลตอบแทน วันนี้อยู่ในตำแหน่งที่จะได้รับผลตอบแทนที่มากกว่าตลาด (Alpha) จากการลงทุนที่ปลอดภัยเช่นเงินเยนของญี่ปุ่นและฟรังก์สวิสของฝรั่งเศสเพื่อปกป้องเงินทุนในสภาวะตลาดที่ผันผวนประกอบกับราคาสินทรัพย์ที่สูงและมองหาโอกาสจากสินทรัพย์เสี่ยงเมื่อมีมูลค่าที่ดี กลยุทธ์นี้จะไม่สอดคล้องกับประเภทสินทรัพย์ที่มีความเปราะบางถึงแม้ว่าจะสร้างรายได้และปกป้องเงินทุนในช่วงที่สภาพแวดล้อมของตลาดปั่นป่วน” ดร. ไมเคิล ฮาเซนสเตบ กล่าวสรุป

เกี่ยวกับแฟรงคลิน เทมเพิลตัน

แฟรงคลิน รีซอร์ส อิงค์ (Franklin Resource) [NYSE: BEN] เป็นองค์กรการจัดการการลงทุนระดับโลกซึ่งดำเนินกิจการร่วมกับบริษัทในเครือ แฟรงคลิน เทมเพิลตัน (Franklin Templeton) ภารกิจของแฟรงคลินเทมเพิลตันคือช่วยให้ลูกค้าได้รับผลตอบแทนที่ดีกว่าโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการการลงทุน การบริหารความมั่งคั่ง และ โซลูชั่นทางเทคโนโลยี โดยผู้จัดการการลงทุนผู้เชี่ยวชาญโดยบริษัทมีความชำนาญในสินทรัพย์ที่ครอบคลุม ทั้งตราสารทุน ตราสารหนี้ การลงทุนทางเลือกและโซลูชันการลงทุนในสินทรัพย์ผสม บริษัทฯ มีพนักงานอยู่ในประเทศต่าง ๆ มากกว่า 30 ประเทศรวมถึงมีผู้เชี่ยวชาญด้านการลงทุนจำนวน 1,300 คน มีประสบการณ์การลงทุนมากกว่า 70 ปีและมีมูลค่าสินทรัพย์ที่อยู่ภายในการดูแล 1.4 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2563 (จากสมมุติฐานของการควบรวมกับเลกก์ เมสัน (Legg Mason, Inc.) สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมกรุณาเยี่ยมชม franklinresources.com

Copyright © 2020. Franklin Templeton Investments. All rights reserved.